homescontents
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sakarya escort serdivan escort adapazarı escort sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sapanca escort
film izle
alanya escort
izmir escort bayan
ataşehir escort kadıköy escort anadolu yakası escort kartal escort maltepe escort ataşehir escort
buca escort izmir escort bayan izmir escort bayan alsancak escort
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

ขอนแก่น 3…หวานทนแล้ง หลีกลี้หนีโรคเอดส์อ้อย

อาการของอ้อยตอเป็นโรคใบขาว

อ้อยหนึ่งในพืชเศรษฐกิจที่เกษตรกรนิยมปลูก เพราะปีแรกหลังจากปลูกแล้วตัดอ้อยส่งขายโรงงาน สามารถไว้ตอปลูกต่อได้อีก 2–3 ปี โดยไม่ต้องปรับสภาพหน้าดินปลูกใหม่เหมือนพืชหลายๆชนิด แต่ถ้าเลือกพันธุ์อ้อยไม่ดี นอกจากทำให้ต้นทุนสูง ยังเสี่ยงเกิดโรคโดยเฉพาะโรคใบขาวอ้อย ที่ชาวไร่อ้อยกลัวกันมาก เพราะเป็นโรคที่ยากจะดูได้จากภายนอก และไม่มีวิธีกำจัดรักษา ไม่ต่างอะไรจากคนป่วยเป็นโรคเอดส์

นายสรรเสริญ เสียงใส นักวิชาการชำนาญการ กรมวิชาการเกษตร สวพ.3 ขอนแก่น บอกว่า โรคนี้มีสาเหตุมาจากเชื้อไฟโตพลาส ติดมากับท่อนพันธุ์อ้อย ถ้าอ้อยสมบูรณ์ ได้รับน้ำ ปุ๋ย แดดดีอย่างต่อเนื่อง อ้อยจะเติบโตเป็นปกติ ดูไม่ออกว่าติดเชื้อนี้มา “แต่เมื่อใดอ้อยกระทบแล้ง น้ำท่วม ขาดปุ๋ย หรือเป็นอ้อยตอปีที่ 2 อาการของโรคจะแสดงออกมาให้เห็น ใบอ้อยขาว แตกกอมากคล้ายกอตะไคร้ การกำจัดสามารถทำได้วิธีเดียว ขุดไปเผาทำลาย หากปล่อยทิ้งไว้จะกินปุ๋ย เปลืองน้ำ ต้นโตช้า หรือถ้าโตจะออกดอก ทำให้สูญเสียน้ำหนัก ความหวานลดลง” หนทางที่จะแก้ปัญหานี้ได้ คือใช้วิธีป้องกัน เลือกใช้ท่อนพันธุ์ที่ปลอดเชื้อ

เพื่อแก้ปัญหานี้ ปี 2537 นักวิจัยของศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่นจึงนำพันธุ์อ้อยเค 84-200 (ต้นพ่อ) ซึ่งแตกกอ 4-5 ลำ ออกดอกน้อย ไม่เสียน้ำหนัก ความหวานอยู่ที่ 11-13 ซีซีเอสต่อตัน ให้ผลผลิตสูง 14-17 ตันต่อไร่ มาผสมกับอ้อยโคลน 85-2-352 ที่ให้ผลผลิต 17.79 ตันต่อไร่ ความหวาน 2.66 ซีซีเอสต่อตัน ลักษณะต้านทานโรคเหี่ยวเน่าแดงและแส้ดำ ทนแล้ง เหมาะกับสภาพดินร่วนปนทราย เริ่มปรับปรุงพันธุ์การวิจัยปรับปรุงพันธุ์ใช้เวลา 15 ปี ได้พันธุ์ใหม่ “อ้อยขอนแก่น 3” ปลูกได้ดีในสภาพดินร่วนปนทราย ทนแล้ง ลำใหญ่ แตกกอดี มีค่าความหวาน 12 ซีซีเอสต่อตัน ถ้าดูแลดีให้น้ำเพียงพอจะได้ผลผลิต 18-22 ตันต่อไร่ ส่วนอ้อยตอปี 2 ผลผลิต 16 ตันต่อไร่ ที่สำคัญ อ้อยตอพันธุ์ขอนแก่น 3 พบการระบาดโรคใบขาวน้อยมากเพื่อให้มีอ้อยพันธุ์ดีปลอดโรค เพียงพอกับความต้องการของเกษตรกร ศูนย์วิจัยพืชไร่จึงนำอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 มาทำการขยายพันธุ์ด้วยวิธีเพาะเนื้อเยื่อ เพื่อเพิ่มปริมาณกล้าพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว ส่งต่อให้เกษตรกรนำไปปลูกขายท่อนพันธุ์เพื่อจำหน่ายกระจายพันธุ์สู่ชาวไร่อ้อยด้วยกันในราคาไร่ละ 15,000-20,000 บาทและเมื่อเกษตรกรนำไปปลูกปรากฏว่า เป็นที่ชื่นชอบของโรงงานน้ำตาล เพราะพันธุ์ขอนแก่น 3 มีค่าความหวาน 11–13 ซีซีเอสต่อตัน สูงกว่ามาตรฐานที่โรงงานตั้งไว้ 10–11 ซีซีเอสต่อตัน.

 

ที่มา      ไทยรัฐออนไลน์

http://www.thairath.co.th/content/6227752 3 4 5



bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen