homescontents
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
https://www.fapjunk.com
Alanya Eskort
alanya escort bayan mersin escort bayan
ümraniyetip maltepe escort alanya eskort pendik.net pendik escort anadolu yakası escort bayanlar escort bayan maltepe
ataşehir escort kadıköy escort kartal escort maltepe escort
проститутки
deneme bonusu veren siteler
casino levant casinolevant
gaziantep escort gaziantep escort
sakarya escort akyazı escort arifiye escort erenler escort eve gelen escort ferizli escort geyve escort hendek escort otele gelen escort sapanca escort söğütlü escort taraklı escort
sakarya escort akyazı escort arifiye escort erenler escort eve gelen escort ferizli escort geyve escort hendek escort karapürçek escort karasu escort kaynarca escort kocaali escort otele gelen escort pamukova escort sapanca escort söğütlü escort taraklı escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sapanca escort sapanca escort sapanca escort sapanca escort sapanca escort
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

เตือนภัย : โรคเถาเหี่ยวในแตงโม

เกิดจาก : เชื้อรา Fusarium oxysporum

ลักษณะอาการ

     ในช่วงที่มีอากาศร้อนและมีฝนตกบางพื้นที่ ให้หมั่นสังเกตอาการของโรคเถาเหี่ยว จะพบแสดงอาการเริ่มแรกโดยใบล่างมีสีเหลือง เริ่มจากใบบริเวณโคนเถาและลุกลามเหลืองต่อเนื่องไปสู่ยอดจนเหลืองทั้งต้น ต่อมาเถาแตงจะเหี่ยวและตาย บางครั้งมีรอยแตกตามยาวของลำต้นบริเวณโคนเถาใกล้ผิวดิน เมื่อผ่าไส้กลางเถาดูจะเห็นภายในลำต้นเป็นสีน้ำตาล มักพบระบาดรุนแรงในพื้นที่สภาพดินเป็นกรด และในพื้นที่เดิมที่มีการปลูกแตงโมซ้ำต่อเนื่องกัน

การป้องกันกำจัด

    1. หลีกเลี่ยงการปลูกแตงโมในพื้นที่ที่เคยมีการระบาดของโรค
    2. ก่อนปลูกควรไถกลับหน้าดินตากแดดจัดอย่างน้อย 10 วัน
    3. ปรับสภาพดินไม่ให้เป็นกรด เพื่อลดความเหมาะสมต่อการเกิดโรค แนะนำ ไบโอ-ซอย 200 กรัม หรือ ยูโอนิกซ์ 300 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตรต่อพื้นที่ 1 ไร่
    4. แปลงปลูกควรมีการระบายน้ำที่ดี และไม่ปลูกแน่นเกินไป เพื่อให้ระบายความชื้นได้ดี
    5. ตรวจแปลงสม่ำเสมอ เมื่อพบโรคควรถอนต้นไปเผาทำลายนอกแปลง
    6. ใช้สารป้องกันกำจัดโรคพืช แนะนำ มิลล่า 30 ซีซี หรือ คลอโรทาโรนิล+อะซอกซีสโตรบิน เอสซี 20 ซีซี หรือ อินดีฟ 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รดดินในหลุมและบริเวณใกล้เคียง เพื่อป้องกันโรคระบาดไปยังต้นข้างเคียง
    7. แปลงที่มีการระบาดของโรค ควรปลูกพืชหมุนเวียน ไม่ปลูกพืชตระกูลแตง เช่น แตงกวา ฟักทอง มะระ และแคนตาลูป และพืชในตระกูลพริก มะเขือเทศ และมันฝรั่ง เนื่องจากอ่อนแอต่อโรค

หมายเหตุ

     – เพื่อป้องกันการดื้อยา ไม่ควรใช้สารกลุ่มเดิมติดต่อกันเกิน 2-3 ครั้ง

     – เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพสาร ควรผสมคัพเวอร์กรีน 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ก่อนผสมสารทุกครั้ง

สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ สำนักงานยูนิไลฟ์ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ ยูนิไลฟ์ สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-399-5555 หรือ ไอดีไลน์ @unilife



bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen
deneme bonusu hoşgeldin bonusu veren siteler deneme bonusu veren siteler deneme bonusu