homescontents
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sakarya escort serdivan escort adapazarı escort sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sapanca escort
film izle
alanya escort
izmir escort bayan
ataşehir escort kadıköy escort anadolu yakası escort kartal escort maltepe escort ataşehir escort
buca escort izmir escort bayan izmir escort bayan alsancak escort
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

เตือนภัย : โรคแคงเกอร์มะนาว

สาเหตุโรค : เชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. Citri

ลักษณะอาการ

     โรคแคงเกอร์สามารถเข้าทำลายได้ทั้งบนใบ ก้านใบ กิ่ง ลำต้น และผล โดยอาการบนใบระยะเริ่มแรกจะเห็นเป็นจุดขนาดประมาณหัวเข็มหมุด ลักษณะเป็นจุดกลมใส โปร่งแสง เป็นจุดฉ่ำน้ำ และแผลจะขยายใหญ่ขึ้น เริ่มแรกแผลมีสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มขึ้น แผลจะมีลักษณะนูนและฟูคล้ายฟองน้ำ ส่วนกลางแผลจะแตกออกเป็นสะเก็ดขรุขระคล้ายเปลือกไม้แตก และมีวงสีเหลืองซีดล้อมรอบรอยแผล หรือที่ชาวสวนเรียกว่า “โรคขี้กลากส้ม”

     อาการบนกิ่งและลำต้น จะพบเป็นแผลตกสะเก็ดนูนขึ้น มีสีน้ำตาล บริเวณแผลอาจจะแตกจนทำให้เกิดอาการยางไหลได้ เมื่อเชื้อลุกลามไปยังใบและกิ่ง ทำให้ใบหลุดร่วงและกิ่งแห้งตายได้

     อาการบนผล มีอาการคล้ายกับบนใบ โดยแผลที่เกิดจะมีลักษณะกลม แผลจะนูน เริ่มต้นแผลมีสีเหลืองและเริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล หากเป็นมากแผลจะรวมกันจนมีขนาดใหญ่ เป็นสะเก็ด รูปร่างไม่แน่นอน หากสะเก็ดหลุดจะมียางไหลออกมาจากแผล หากเป็นมากจะทำให้เปลือกแตก ผลแตก ผลร่วงได้ 

การแพร่ระบาด

     เกิดได้ง่ายและรุนแรงมากขึ้นในสภาพอากาศที่ร้อนชื้น สามารถแพร่กระจายได้ตามกระแสลม น้ำค้าง ฝน แมลง (เช่น หนอนชอนใบ) และมนุษย์ ระบาดในช่วงเดือนพฤษภาคม – กันยายน

การป้องกันกำจัด

  1. ตัดแต่งส่วนที่เป็นโรคเผาทำลาย และไม่ขยายพันธุ์จากต้นที่เป็นโรคแคงเกอร์
  2. หมั่นดูแลและตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะช่วงที่พืชกำลังแตกใบอ่อน หรือติดผลอ่อนต้องคอยระวังแมลงที่เป็นพาหะ เช่น หนอนชอนใบ จะเข้ามาทำลายให้เกิดแผล แล้วเกิดโรคทำลายซ้ำ
  3. ใช้สารป้องกันกำจัดโรค แนะนำ  คัพเวอร์กรีน 10 ซีซี + ไมโครบลูคอป 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 1-2 ครั้ง ห่างกัน 7-10 วัน ช่วงที่มีใบอ่อน ติดผลอ่อน 
  4. หากมีการระบาดของหนอนชอนใบ ใช้ร่วมกับสารป้องกันกำจัดแมลง แนะนำ วอเดอร์ 30 กรัม + เคาท์ดาว 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ สำนักงานยูนิไลฟ์ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ ยูนิไลฟ์ สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-399-5555 หรือ ไอดีไลน์ @unilife



bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen