homescontents
taksim escort mecidiyekoy escort beykent escort
istanbul escort ataköy escort kadıköy escort şişli escort
istanbul escort
bornova escort bornova escort
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sakarya escort serdivan escort adapazarı escort sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sapanca escort
film izle
alanya escort
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

เตือนภัย : โรคใบติดทุเรียน

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Rhizoctonia solani 

ลักษณะอาการ

     อาการเริ่มแรกพบแผลคล้ายน้ำร้อนลวกบนใบ ต่อมาแผลขยายตัวและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน จากนั้นลุกลามไปยังใบปกติข้างเคียง ถ้ามีความชื้นสูงจะสร้างเส้นใยลักษณะคล้ายใยแมงมุมยึดใบให้ติดกัน ใบที่เป็นโรคจะแห้งติดอยู่กับกิ่ง ก่อนหลุดร่วงไปสัมผัสกับใบที่อยู่ด้านล่าง โรคจะลุกลามทำให้เห็นเหมือนใบไหม้เป็นหย่อมๆ อาการอาจเริ่มที่ปลายใบ กลางใบ หรือโคนใบ จนลุกลามไปทั้งใบหรือเกิดทั้งกิ่ง ใบจะแห้งติดกันเป็นกระจุกแขวนค้างตามกิ่ง หากระบาดรุนแรงจะทำให้ใบร่วง ต้นโทรม การเจริญเติบโตและผลผลิตลดลง เนื่องจากปริมาณใบที่สังเคราะห์แสงเพื่อสร้างอาหารมีปริมาณน้อยลง

การแพร่ระบาด

     เชื้อจะแพร่กระจายจากใบที่เป็นโรคร่วงหล่นไปค้างอยู่กับใบอื่น และบริเวณโคนต้นเชื้อสามารถพักตัวอยู่ในดินได้นาน โดยเฉพาะในเศษซากพืช เข้าทำลายในระยะใบอ่อนก่อน ช่วงฤดูฝน ช่วงที่มีความชื้นสูง

ระยะเริ่มต้น แผลคล้ายน้ำร้อนลวก

ต่อมาแผลลุกลามทั่วใบและพบเส้นใยสีขาว

หากความชื้นสูง พลิกดูหลังใบอาจพบเส้นใยสีขาว

หากระบาดมาก ใบจะแห้งติดกันเป็นกระจุก

การป้องกันรักษา

  1. ตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่ง เพื่อรับแสงแดดได้ทั่วถึง ช่วยลดความชื้นในทรงพุ่ม
  2. ตัดส่วนที่เป็นโรคและเก็บเศษพืชที่เป็นโรคและใบที่ร่วงหล่นไปทำลายนอกแปลง ลดการสะสมเชื้อในแปลง
  3. ฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกำจัด แนะนำ

     ป้องกัน:ไมโครบลูคอป  200  กรัม หรือ เบนเอฟ  200  ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

     รักษา: แซสซี่ 100  ซีซี หรือ มิลล่า 300 ซีซี หรือ อินดีฟ 100 ซีซี หรือ คลอโรทาโลนิล+อะซอกซีสโตรบิน เอสซี 200 ซีซี หรือ ไดเมโทมอร์ฟ+แมนโคเซบ 300 กรัม หรือ วาลิดามัยซิน 300 ซีซี ต่อน้ำ  200  ลิตร

หมายเหตุ

     – เพื่อป้องกันการดื้อยา ไม่ควรใช้สารกลุ่มเดิมติดต่อกันเกิน 2-3 ครั้ง

     – เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพสาร ควรผสมคัพเวอร์กรีน 100 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ก่อนผสมสารทุกครั้ง

สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ สำนักงานยูนิไลฟ์ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ ยูนิไลฟ์ สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-399-5555 หรือ ไอดีไลน์ @unilife



bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen