homescontents
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sakarya escort serdivan escort adapazarı escort sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sapanca escort
https://www.fapjunk.com
Alanya Eskort
alanya escort bayan mersin escort bayan
ümraniyetip maltepe escort alanya eskort pendik.net pendik escort anadolu yakası escort bayanlar escort bayan maltepe
ataşehir escort kadıköy escort kartal escort maltepe escort
проститутки
kartal masaj
deneme bonusu veren siteler
casino levant casinolevant
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

เตือนภัย โรคใบติดทุเรียน

  

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Rhizoctonia solani 

  

ลักษณะอาการ

    โรคใบติด หรือ โรคใบไหม้ (Durian leaf blight) เป็นโรคที่สำคัญในทุเรียนอีกโรคหนึ่ง อาการที่ใบจะมีลักษณะเป็นจุดฉ่ำน้ำคล้ายน้ำร้อนลวกบนใบ บริเวณกลางใบหรือขอบใบ ต่อมาแผลจะค่อยๆ ขยายตัวลุกลาม จนใบไหม้และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล เมื่อใบที่เป็นโรคแก่จะหลุดและห้อยคาอยู่ หากใบที่เป็นโรคร่วงไปติดบนใบที่ปกติ เชื้อราจะแพร่ระบาดไปอีก โดยจะพบเส้นใยสีขาวนวลแผ่ปกคลุมคล้ายใยแมงมุม หน้าใบทุเรียนที่เริ่มเป็นโรคจะเป็นสีน้ำตาล และหลังใบจะเห็นสปอร์ขาวๆ ติดอยู่ เมื่ออาการรุนแรงขึ้นใบจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลทั้งกิ่ง สุดท้ายใบที่ไหม้ก็จะร่วงจนเหลือแต่กิ่ง ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรงและมีการเจริญเติบโตที่ไม่สมบูรณ์

  

       โรคใบติด มักเกิดในช่วงใบอ่อน โดยเฉพาะในช่วงฝนตกชุกจะระบาดมากเพราะเชื้อราสาเหตุของโรคนี้ สามารถพักตัวอยู่ในดินได้เป็นเวลานาน โดยอาศัยตามเศษซากพืชที่หล่นอยู่ใต้ต้นเมื่อสภาพเหมาะสมก็ระบาดได้อีก

 

● รวบรวมเศษใบที่ร่วงเผาทำลาย กำจัดวัชพืชโคนต้น เพื่อลดความขึ้นในสวน

● ฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรา

– การป้องกัน ไมโครบลูคอป 20 กรัม หรือ เบนเอฟ 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

– การรักษา ชีคไบท์ 30 ชีซี หรือ มิลล่า 20 ชีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

  

สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ สำนักงานยูนิไลฟ์ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ ยูนิไลฟ์ สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-399-5555 หรือ ไอดีไลน์ @unilife


bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen
deneme bonusu hoşgeldin bonusu veren siteler deneme bonusu veren siteler deneme bonusu