homescontents
taksim escort mecidiyekoy escort beykent escort
istanbul escort ataköy escort kadıköy escort şişli escort
istanbul escort
bornova escort bornova escort
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sakarya escort serdivan escort adapazarı escort sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sapanca escort
film izle
alanya escort
izmir escort bayan
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

เตือนภัย : 6 เชื้อรา ก่อโรคผลเน่าในทุเรียน

เชื้อราก่อโรคผลเน่าในทุเรียนมี 6 ชนิด ได้แก่

  1. ไฟทอปธอร่า (Phytophthora palmivora) : แผลสีน้ำตาลเข้มปนน้ำตาลแดง ร่องหนามมีสีเข้ม โคนหนามมีลักษณะวาว และแผลคล้ายฉ่ำน้ำ บางครั้งเห็นเส้นใยสีขาวรวมตัวกันเป็นกระจุกในภาวะความชื้นสูง และอาจเน่าลุกลามเข้าตามไส้เมื่อผลเริ่มสุก ทำให้เนื้อทุเรียนเสีย มีรสเปรี้ยว บางครั้งเข้าทำลายลึกถึงเมล็ด

  1. แอนแทรคโนส (Colletotrichum gloeosporioides) : แผลจะเป็นเริ่มจากมีจุดสีเหลืองที่หนาม ต่อมาแผลเป็นสีเข้ม อาจพบเส้นใยในภาวะความชื้นสูง

  1. โฟมอปซิส (Phomopsis ) : แผลเป็นสีน้ำตาล ร่องหนามมีสีเข้ม โคนหนามมีลักษณะจุดดำกระจาย

  1. ลาสิโอดิพโพลเดีย (Lasiodiplodia theobromae) : แผลเป็นสีน้ำตาลเข้ม หากมีความชื้นสูงจะพบเส้นใยเชื้อราสีเขียวปนเทาเจริญคลุมแผล มักพบที่ก้นผล ผลจะแตก อาการจะลุกลามอย่างรวดเร็ว และมีกลิ่นสาบ

  1. ฟิวซาเรียม (Fusarium solani) : แผลสีน้ำตาลถึงดำ มีเมือกสีส้มหรือสปอร์ขาวอมส้มในภาวะความชื้นสูง

  1. ราแป้ง (Oidium) : เป็นฝุ่นผงสีขาวขึ้นปกคลุมทั้งผลหรือส่วนใดส่วนหนึ่ง ทำลายตั้งแต่ติดผลอ่อนจนกระทั่งผลแก่สีผิวเปลือกผิดปกติ ไม่เป็นมัน หนามเกิดรอยแตกเล็กๆ

     เชื้อราดังกล่าวทำให้ผลร่วงได้ หรือทำให้ผลผลิตเสียหาย มีตำหนิ ไม่เป็นที่ต้องการของตลาด หากเป็นมากเนื้อด้านในจะเน่าเละ มีกลิ่นเหม็น การป้องกันที่ดีที่สุดคือ พ่นป้องกันทุกระยะของผล อย่างน้อยเดือนละ 1-2  ครั้ง

การป้องกันกำจัด

  1. ระยะ ลูกหมาก – กระป๋องนม ป้องกันด้วย บิซโทร 400 กรัม สลับ ซับลา 300 กรัม ต่อน้ำ 200 ลิตร

  1. ระยะขยายขนาดผล (2 เดือน) ป้องกันด้วย ไดเมโทมอร์ฟ+แมนโคเซบ 400 กรัม สลับ มิลล่า 300 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

  1. ระยะขยายขนาดผล (3 เดือน) ป้องกันด้วย รัสโซล 150 ซีซี สลับ ซับลา 300 กรัม ต่อน้ำ 200 ลิตร

  1. ระยะก่อนและหลังเก็บเกี่ยว (4 เดือน) ป้องกันด้วย แซสซี่ 50 ซีซี สลับ อินดีฟ 100 ซีซี สลับ คลอโรทาโลนิล+อะซอกซีสโตรบิน เอสซี 200 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

หมายเหตุ

     – เพื่อป้องกันการดื้อยา ไม่ควรใช้สารกลุ่มเดิมติดต่อกันเกิน 2-3 ครั้ง

     – เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพสาร ควรผสมคัพเวอร์กรีน 100 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ก่อนผสมสารทุกครั้ง

สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ สำนักงานยูนิไลฟ์ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ ยูนิไลฟ์ สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-399-5555 หรือ ไอดีไลน์ @unilife



bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen