homescontents
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sakarya escort serdivan escort adapazarı escort sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sapanca escort
https://www.fapjunk.com
Alanya Eskort
alanya escort bayan mersin escort bayan
ümraniyetip maltepe escort alanya eskort pendik.net pendik escort anadolu yakası escort bayanlar escort bayan maltepe
ataşehir escort kadıköy escort kartal escort maltepe escort
проститутки
kartal masaj
deneme bonusu veren siteler
casino levant casinolevant
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

โรคกาบใบแห้งในข้าว

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Rhizoctonia solani (Thanatephorus cucumeris (Frank) Donk)

ลักษณะอาการ

        เริ่มพบอาการในระยะแตกกอจนถึงระยะใกล้เก็บเกี่ยว ยิ่งต้นข้าวมีการแตกกอมากเท่าไหร่ จะยิ่งเบียดเสียดกันมากขึ้น ทำให้ความรุนแรงของโรคมากขึ้น ลักษณะแผลเป็นสีเขียวปนเทา แสดงอาการตามกาบใบ ตรงบริเวณใกล้ระดับน้ำ แผลจะลุกลามขยายใหญ่ขึ้นจนมีขนาดไม่จำกัด แล้วลุกลามขยายขึ้นไปถึงใบข้าวด้านบน ถ้าเป็นพันธุ์ข้าวที่อ่อนแอ แผลสามารถลุกลามถึงใบธงและกาบหุ้มรวงข้าว ทำให้ใบและกาบใบเหี่ยวแห้ง ผลผลิตจะลดลงอย่างมาก เชื้อราสามารถสร้างเม็ดขยายพันธุ์อยู่ได้นานในตอซังหรือวัชพืชในนาหรือตามดินนา สามารถมีชีวิตข้ามฤดู ทำให้เชื้อสามารถเข้าทำลายข้าวได้ตลอดฤดูการทำนา

การป้องกันและกำจัด

1. หลังเก็บเกี่ยวข้าวและเริ่มฤดูใหม่ ควรไถพลิกหน้าดินตากแดด เพื่อทำลายเม็ดขยายพันธุ์ (Fruiting body) ของเชื้อราสาเหตุโรค

2. กำจัดวัชพืชตามคันนาและแหล่งน้ำ เพื่อทำลายพืชอาศัยของเชื้อราสาเหตุโรค

3. ใช้สารป้องกันกำจัดเชื้อรา โดยพ่นสารในบริเวณที่เริ่มพบการระบาด ไม่จำเป็นต้องพ่นทั้งแปลง เพราะโรคนี้จะเกิดเป็นหย่อม แนะนำผลิตภัณฑ์

การป้องกัน : รัสโซล 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

การกำจัด :    ชีคไบท์ 30 ซีซี หรือ มิลล่า 20 ซีซี หรือ แอพโพช 15 ซีซี หรือ แซสซี่ 10 ซีซี หรือ อินดีฟ 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ สำนักงานยูนิไลฟ์ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ ยูนิไลฟ์ สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-399-5555 หรือ ไอดีไลน์ @unilife

ที่มา: องค์ความรู้เรื่องข้าว กรมการข้าว



bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen
deneme bonusu hoşgeldin bonusu veren siteler deneme bonusu veren siteler deneme bonusu