homescontents
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sakarya escort serdivan escort adapazarı escort sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sapanca escort
https://www.fapjunk.com
Alanya Eskort
alanya escort bayan mersin escort bayan
ümraniyetip maltepe escort alanya eskort pendik.net pendik escort anadolu yakası escort bayanlar escort bayan maltepe
ataşehir escort kadıköy escort kartal escort maltepe escort
проститутки
kartal masaj
deneme bonusu veren siteler
casino levant casinolevant
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

โรคผลเน่าในเงาะ

โรคผลเน่าในเงาะ

      เกิดจากการเข้าทำลายของเชื้อราหลายชนิด ได้แก่ Colletotrichum spp., Gliocephalotrichum spp., Greeneria spp., Lasiodiplodia spp., Pestalotiopsis spp., Phoma spp., Phomopsis spp. และ Phytophthora botryose

ลักษณะอาการ

เริ่มแรกจะแสดงอาการจุดฉ่ำน้ำสีน้ำตาลถึงดำที่บริเวณขั้วหรือผิวของผล จากนั้นแผลจะขยายลุกลามและเน่าเป็นสีดำ บางครั้งพบเส้นใยเชื้อราสีเทาหรือสีขาวเจริญฟูขึ้นบนแผล ทำให้ผลร่วงได้ อาการภายในผลเงาะระยะแรกจะไม่รุนแรง เปลือกเงาะด้านในเป็นสีน้ำตาลอ่อน เนื้อเงาะยังมีสีขาว ไม่มีน้ำเยิ้ม เมื่อแผลขยายลุกลามมากขึ้น เปลือกเงาะด้านในเป็นสีน้ำตาลเหลืองมีสีคล้ายแผลด้านนอก เนื้อเงาะจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อนจนถึงสีน้ำตาลอมเหลือง เนื้อจะนิ่มเละ ทำให้ผลผลิตเสียหายเป็นอย่างมาก

การป้องกันกำจัด

1.ตัดแต่งกิ่งและค้ำกิ่งให้สูงขึ้น จัดการระบายอากาศในสวนให้ดีโดยการตัดแต่งกิ่งให้โปร่ง

2.เก็บเศษซากที่มีเชื้อก่อโรคทำลายทิ้งนอกแปลงปลูก เพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อไปตามลมและฝน

3.ใช้สารเคมีป้องกันกำจัด แนะนำ

    ป้องกัน บิซโทร 350 กรัม หรือ เบนเอฟ 200 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

    รักษา แซสซี่ 100 ซีซี หรือ อินดีฟ 100 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ สำนักงานยูนิไลฟ์ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ ยูนิไลฟ์ สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-399-5555 หรือ ไอดีไลน์ @unilife



bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen
deneme bonusu hoşgeldin bonusu veren siteler deneme bonusu veren siteler deneme bonusu