homescontents
taksim escort mecidiyekoy escort beykent escort
istanbul escort ataköy escort kadıköy escort şişli escort
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

“โรคแคงเกอร์” ในพืชตระกูลส้ม มะนาว

“โรคแคงเกอร์” เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. citri

สามารถเกิดได้ง่ายและรุนแรง ในสภาพอากาศที่ร้อนชื้น อุณหภูมิประมาณ 20-30 องศา
เซลเซียส และระยะที่มีหนอนชอนใบส้มเข้าทำลาย นอกจากนี้ก็แพร่กระจายได้ตามกระแสลม น้ำค้าง ฝน
แมลง และ มนุษย์ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการเคลื่อนย้ายกิ่งที่มีโรคโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จากแหล่งหนึ่งไปยัง
สถานที่อื่นๆ เป็นระยะทางไกลๆได้ ช่วงที่ระบาดมากจะเป็นช่วงเดือนพฤษภาคม – กันยายน
 
ลักษณะอาการของโรค
ราก พบในกรณีที่ปลูกเชื้อทดลองปลูก โดยเกิดกับส่วนรากที่อยู่เหนือดิน ทำให้ต้นทรุด 
โทรม แคระแกร็น กิ่งตาย ใบร่วง ผลผลิตลดลงและตายในที่สุด
      
 
กิ่งก้าน พบบริเวณกิ่งอ่อน ระยะแรกแผลมีสีเหลืองนูนฟูคล้ายแผลที่เกิดบนใบต่อมาแผลจะขยาย ออกโดยรอบกิ่ง 
 
       
      
 
 ใบ ระยะเริ่มแรกจะเห็นเป็นจุดขนาดประมาณหัวเข็มหมุดมองเห็นได้ไม่ชัด ลักษณะเป็นจุดกลม ใส โปร่งแสง
ใส โปร่งแสง ชุ่มน้ำ และมีสีซีดกว่าใบปกติ เมื่อเวลาผ่านไปแผลจะขยายใหญ่ขึ้น สีคล้ำขึ้น มีลักษณะนูน
และ ฟูคล้ายฟองน้ำ จากระยะเริ่มแรกที่แผลมีสีขาว หรือเหลืองอ่อนก็เปลี่ยนกลายเป็นสีน้ำตาลเข้ม ส่วนที่นูน
และฟูคล้ายฟองน้ำก็จะแยกออกเป็นสะเก็ดขรุขระคล้ายเปลือกไม้แตก มีรอยบุ๋มเล็กน้อยตรงกลาง และมีวง
สีเหลืองซีดล้อมรอบรอยแผล
 
     
 
ผล มีลักษณะอาการคล้ายกับที่พบที่ใบ แผลที่เกิดเดี่ยวๆมีลักษณะกลม บริเวณรอบแผลดูคล้ายกับฝัง
ลึกลงไปในผิวของผล แผลจะนูน และปรุโปร่งคล้ายฟองน้ำ แต่มีสีเหลือง แข็ง และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อ
แผลแก่ บางครั้งแผลจะรวมกันมีขนาดใหญ่เป็นสะเก็ด รูปร่างไม่ แน่นอน ซึ่งเมื่อหลุดจะมียางไหลออกมา
จากแผลได้ เกิดความเสียหายกับผลมะนาว ขายไม่ได้ราคา
 
       
การป้องกันกำจัด
1. หมั่นคอยดูแลและตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอโดยเฉพาะในช่วงที่กำลังแตกใบอ่อน หรือติดผลอ่อน
    ต้องคอยระวังแมลงที่เป็นพาหะเช่น หนอนชอนใบ จะเข้ามาทำลายให้เกิดแผล
2. ใช้ ไมโครบลูคอป 200 กรัม ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่น 1-2 ครั้ง ห่างกัน 7-10 วัน ในช่วงที่มีใบอ่อน
     และติดผลอ่อน
 
      
 

สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ สำนักงานยูนิไลฟ์ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ ยูนิไลฟ์ สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-399-5555 หรือ ไอดีไลน์ @unilife



วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen