homescontents
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sakarya escort serdivan escort adapazarı escort sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sapanca escort
https://www.fapjunk.com
Alanya Eskort
alanya escort bayan mersin escort bayan
ümraniyetip maltepe escort alanya eskort pendik.net pendik escort anadolu yakası escort bayanlar escort bayan maltepe
ataşehir escort kadıköy escort kartal escort maltepe escort
проститутки
kartal masaj
deneme bonusu veren siteler
casino levant casinolevant
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

โรคใบร่วงยางพาราชนิดใหม่

เชื้อสาเหตุ: เชื้อรา Pestalotiopsis sp. หรือ Colletotrichum sp. 

ลักษณะอาการ

     เริ่มแรกจะเกิดจุดช้ำใต้ใบ ด้านบนของบริเวณเดียวกันเป็นสีเหลือง (chlorosis) ขยายใหญ่ขึ้นเป็นสีคล้ำ ขอบแผลดำ และกลายเป็นเนื้อเยื่อแห้ง (necrosis)  สีน้ำตาลจนถึงสีขาวซีด รูปร่างจุดแผลค่อนข้างกลม รอบแผลไม่มีสีเหลืองล้อมรอบ จำนวนแผลมากกว่า 1 จุด ขนาด 0.5-3 เซนติเมตร อาจซ้อนกันเป็นแผลขนาดใหญ่ เมื่อกาการรุนแรงใบจะเหลืองและร่วง ผลผลิตลดลงมากกว่า 50%

การแพร่ระบาดของโรค

     มักระบาดช่วงที่มีความชื้นสูงในระยะใบแก่ และพันธุ์ยางทุกพันธุ์อ่อนแอต่อการเกิดโรค เชื้อสาเหตุสามารถแพร่กระจายโดยลม ฝน การเคลื่อนย้ายท่อนพันธุ์หรือวัสดุปลูกในแปลง

เริ่มแรกเกิดจุดช้ำใต้ใบ

ลักษณะแผลบนใบ

เมื่ออาการรุนแรงใบจะเหลืองและหลุดร่วง

อาการรุนแรงใบร่วงได้ทั้งต้น ผลผลิตลดลงมากกว่า 50%

การป้องกันกำจัด

     1. ใส่ปุ๋ยบำรุงสม่ำเสมอเพื่อสร้างความสมบูรณ์ให้กับต้นยาง สามารถสร้างใบใหม่ออกมาทดแทนใบยางที่ร่วงได้รวดเร็ว
     2. หมั่นสำรวจสม่ำเสมอ หากพบต้นยางมีทรงพุ่มไม่สดชื่น ใบเหลือง ให้ตรวจสอบอาการของโรคบนใบและใบที่ร่วง
     3. กำจัดใบยางที่เป็นโรคและวัชพืชในแปลง เพื่อลดการสะสมของเชื้อสาเหตุของโรค
     4. หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุปลูกและท่อนพันธุ์จากแหล่งที่เกิดการระบาด
     5. ใช้สารเคมีควบคุมโรค

          5.1 การใช้สารทางใบ

          ป้องกัน: คัพเวอร์กรีน 100 ซีซี + (ไดเมโทมอร์ฟ+แมนโคเซบ 300 กรัม หรือ เบนเอฟ 300 ซีซี) ต่อน้ำ 200 ลิตร

          กำจัด: คัพเวอร์กรีน 100 ซีซี + (แอพโพช 150 ซีซี หรือ คลอโรทาโลนิล+อะซอกซีสโตรบิน เอสซี 300 ซีซี หรือ รัสโซล 150 ซีซี) ต่อน้ำ 200 ลิตร

          ** การใช้สารฉีดพ่นพุ่มใบยางจากใต้ทรงพุ่ม อัตราพ่นสาร 100 ลิตร/ไร่ ควรพ่น 2-3 ครั้ง ห่างกัน 7-15 วัน

          5.2 การใช้สารทางดิน

          เมื่อเริ่มมีใบร่วง ควรฉีดพ่นลงดิน  2-3 ครั้ง ห่างกัน 7-15 วัน  เมื่อการระบาดของโรคหยุดลง ควรพ่นทางดินทุกๆ 2 เดือน เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดซ้ำ

          ใช้ ยูโอนิกซ์ 300 ซีซี + นีโอ-ไฟต์ 300 ซีซี + คลอโรทาโลนิล+อะซอกซีสโตรบิน เอสซี 300 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร (อัตราพ่นสาร 10-20 ลิตร/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดต้น)

แหล่งข้อมูล: สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย / ศูนย์ข่าวกรมส่งเสริมการเกษตร/ สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร

ที่มาภาพ: สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย

สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ สำนักงานยูนิไลฟ์ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ ยูนิไลฟ์ สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-399-5555 หรือ ไอดีไลน์ @unilife



bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen
deneme bonusu hoşgeldin bonusu veren siteler deneme bonusu veren siteler deneme bonusu