homescontents
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sakarya escort serdivan escort adapazarı escort sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sakarya escort bayan sapanca escort
https://www.fapjunk.com
Alanya Eskort
alanya escort bayan mersin escort bayan
ümraniyetip maltepe escort alanya eskort pendik.net pendik escort anadolu yakası escort bayanlar escort bayan maltepe
ataşehir escort kadıköy escort kartal escort maltepe escort
проститутки
kartal masaj
deneme bonusu veren siteler
casino levant casinolevant
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

3 เพลี้ยร้าย ทำลายใบทุเรียน

     เพลี้ยที่เข้าทำลายทุเรียนมีหลายชนิด ชนิดที่มักเข้าทำลายใบและสร้างความเสียหายรุนแรงมี 3 ชนิด ได้แก่ เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่แจ้ และเพลี้ยจักจั่นฝอย

     1.เพลี้ยไฟ ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงใบ ทำให้ใบอ่อนหรือยอดอ่อนชะงักการเจริญเติบโต แคระแกร็น ใบโค้ง แห้ง หงิกงอ และไหม้

     นอกจากนี้ยังเข้าทำลายช่วงดอก ทำให้ดอกแห้งและหลุดร่วงได้ หรือทำให้ผลอ่อนชะงัก หนามเป็นแผล ปลายหนามแห้งหรืออาการหนามจีบ ผลไม่สมบูรณ์แคระแกร็น

     2.เพลี้ยไก่แจ้ ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อน ทำให้ใบเป็นจุดเหลือง ไม่เจริญเติบโต ใบหงิกงอ ถ้าทำลายช่วงใบอ่อนยังไม่คลี่ออกจะทำให้ใบแห้งและร่วงได้

     3.เพลี้ยจักจั่นฝอย ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อน ทำให้ขอบใบไหม้ หงิกงอ ใบแห้งและม้วนเข้าหากัน หากระบาดมากจะทำให้ใบแห้งและร่วง ยอดทุเรียนเหลือแต่ก้าน หรือที่ชาวสวนเรียกยอดก้านธูป ทำให้ทุเรียนชะงักการเจริญเติบโต

วิธีการป้องกันกำจัด

     1.ควรบังคับใบอ่อนให้แตกพร้อมกันจะจัดการได้ง่าย ตัดแต่งกิ่งที่แมลงระบาดมากไปทำลายช่วยลดการระบาดได้

     2.ใช้สารเคมีป้องกันกำจัดทุก 7-10 วัน โดยเฉพาะช่วงแตกใบอ่อน แนะนำ

     อะวอร์ด40เอสซี 150 ซีซี + (เคาท์ดาว 200 ซีซี สลับ เท็นสตาร์ 100 ซีซี สลับ ฟินิช 300 ซีซี) ต่อน้ำ 200 ลิตร

     *ควรใส่ คัพเวอร์กรีน อัตรา 100 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ก่อนผสมสารเคมีทุกครั้ง เพื่อแก้น้ำกระด้าง ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการแทรกซึมของสาร

แหล่งข้อมูล: แมลงศัตรูของทุเรียน กรมวิชาการเกษตร / แมลงศัตรูในทุเรียน วารสารเคหการเกษตร

สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ สำนักงานยูนิไลฟ์ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ ยูนิไลฟ์ สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-399-5555 หรือ ไอดีไลน์ @unilife



bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen
deneme bonusu hoşgeldin bonusu veren siteler deneme bonusu veren siteler deneme bonusu